วันที่ 8 สิงหาคม 2566 นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการวิจัยปรับปรุงพันธุ์พืช ครั้งที่ 1/2556 เพื่อพิจารณารับรองพันธุ์พืช 10 พันธุ์ ประเภทพันธุ์แนะนำดังนี้ ปาล์มน้ำมันลูกผสมพันธุ์ กวก. สุราษฎร์ธานี 10, 11 และ 12 โดย ศูนย์วิจัยปาล์มน้ำมันสุราษฎร์ธานี สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน อ้อยพันธุ์ กวก. ขอนแก่น 4 โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน ถั่วหลั่งพันธุ์ กวก. สงขลา 2 โดย สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 มะพร้าวกะทิพันธุ์แท้พันธุ์ กวก. สุราษฎร์ธานี 1 โดย สถาบันวิจัยพืชสวน หน่อไม้ฝรั่งพันธุ์ กวก. กาญจนบุรี 1 โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาญจนบุรี สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 มะนาวพันธุ์ กวก พิจิตร 2, ส้มโอพันธุ์ กวก พิจิตร 1 และ มันเทศพันธุ์ กวก พิจิตร 3 โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2

วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตรมอบหมาย นายสุรกิตติ ศรีกุล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตพืช เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านวิชาการกรมวิชาการเกษตร ครั้งที่ 7/2566 เวลา 8.30 – 18.30 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 2 อาคารศูนย์ปฏิบัติการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมวิชาการเกษตร โดยมีคณะผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมเป็นกรรมการ และทีมกองแผนงานและวิชาการ เป็นฝ่ายเลขานุการ เพื่อพิจารณากลั่นกรองข้อเสนองานวิจัยกรมวิชาการเกษตร ส่ง สกสว. ประจำปี 2568 จำนวน 72 แผนงานวิจัย (368 โครงการวิจัย) ที่สอดคล้องภายใต้ทิศทางการดำเนินงานวิจัยของกรมวิชาการเกษตร ปี 2568-2570 เพื่อผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายและทิศทางงานวิจัยของกรมฯ ไปสู่การปฏิบัติวิจัยเชิงรุกตามแนวทางนโยบาย “ตลาดนำการผลิต” และ “ตลาดนำการวิจัย” ที่มุ่งเน้นพัฒนางานวิจัยตามพันธกิจของกรมฯ และดำเนินงานตามแนวทาง “BALANCE DOA TOGETHER”

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตรมอบหมาย นายสุรกิตติ ศรีกุล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตพืช เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านวิชาการกรมวิชาการเกษตร ครั้งที่ 7/2566 เวลา 08.30 – 18.30 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 2 อาคารศูนย์ปฏิบัติการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมวิชาการเกษตร โดยมีคณะผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมเป็นกรรมการ และทีมกองแผนงานและวิชาการ เป็นฝ่ายเลขานุการ เพื่อพิจารณากลั่นกรองข้อเสนองานวิจัยกรมวิชาการเกษตร ส่ง สกสว. ประจำปี 2568 จำนวน 72 แผนงานวิจัย (368 โครงการวิจัย) ที่สอดคล้องภายใต้ทิศทางการดำเนินงานวิจัยของกรมวิชาการเกษตร ปี 2568-2570 เพื่อผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายและทิศทางงานวิจัยของกรมฯ ไปสู่การปฏิบัติวิจัยเชิงรุกตามแนวทางนโยบาย “ตลาดนำการผลิต” และ “ตลาดนำการวิจัย” ที่มุ่งเน้นพัฒนางานวิจัยตามพันธกิจของกรมฯ และดำเนินงานตามแนวทาง “BALANCE DOA TOGETHER”

วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตรมอบหมาย นายสุรกิตติ ศรีกุล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตพืช เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านวิชาการกรมวิชาการเกษตร ครั้งที่ 7/2566 เวลา 08.30 – 18.30 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 2 อาคารศูนย์ปฏิบัติการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมวิชาการเกษตร โดยมีคณะผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมเป็นกรรมการ และทีมกองแผนงานและวิชาการ เป็นฝ่ายเลขานุการ เพื่อพิจารณากลั่นกรองข้อเสนองานวิจัยกรมวิชาการเกษตร ส่ง สกสว. ประจำปี 2568 จำนวน 72 แผนงานวิจัย (368 โครงการวิจัย) ที่สอดคล้องภายใต้ทิศทางการดำเนินงานวิจัยของกรมวิชาการเกษตร ปี 2568-2570 เพื่อผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายและทิศทางงานวิจัยของกรมฯ ไปสู่การปฏิบัติวิจัยเชิงรุกตามแนวทางนโยบาย “ตลาดนำการผลิต” และ “ตลาดนำการวิจัย” ที่มุ่งเน้นพัฒนางานวิจัยตามพันธกิจของกรมฯ และดำเนินงานตามแนวทาง “BALANCE DOA TOGETHER”

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตรมอบหมาย นางสุภัทรา เลิศวัฒนาเกียรติ ผู้เชี่ยวชาญด้านไม้ผล ทำหน้าที่ประธานการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านวิชาการกรมวิชาการเกษตร ครั้งที่ 7/2566 เวลา 09.30 – 18.30 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 2 อาคารศูนย์ปฏิบัติการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมวิชาการเกษตร โดยมีคณะผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมเป็นกรรมการ และทีมกองแผนงานและวิชาการ เป็นฝ่ายเลขานุการ เพื่อพิจารณากลั่นกรองข้อเสนองานวิจัยกรมวิชาการเกษตร ส่ง สกสว. ประจำปี 2568 จำนวน 72 แผนงานวิจัย (368 โครงการวิจัย) ที่สอดคล้องภายใต้ทิศทางการดำเนินงานวิจัยของกรมวิชาการเกษตร ปี 2568-2570 เพื่อผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายและทิศทางงานวิจัยของกรมฯ ไปสู่การปฏิบัติวิจัยเชิงรุกตามแนวทางนโยบาย “ตลาดนำการผลิต” และ “ตลาดนำการวิจัย” ที่มุ่งเน้นพัฒนางานวิจัยตามพันธกิจของกรมฯ และดำเนินงานตามแนวทาง “BALANCE DOA TOGETHER”