การจัดงานแถลงผลงานด้านการวิจัยพัฒนา และประกาศเกียรติคุณผู้เกษียณอายุราชการ
กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2564

ขอเชิญร่วมรับชมแถลงผลงานด้านการวิจัยพัฒนา
และประกาศเกียรติคุณผู้เกษียณอายุราชการ
กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2564
วันที่ 29 – 30 กันยายน 2564 ดังนี้
กำหนดการ
การจัดงานแถลงผลงานด้านการวิจัยพัฒนา และประกาศเกียรติคุณผู้เกษียณอายุราชการ
กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2564
วันที่ 29 – 30 กันยายน 2564
ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารศูนย์ปฏิบัติการฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมวิชาการเกษตร
และรูปแบบออนไลน์ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เวลา | กิจกรรม |
วันที่ 29 กันยายน 2564 | |
ภาคเช้า | |
09.00 – 10.30 น. | – พิธีเปิด – มอบรางวัลพร้อมนำเสนอ Video Presentation – มอบนโยบาย โดย นายพิเชษฐ์ วิริยะพาหะ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร |
10.30 – 12.00 น. | บรรยายพิเศษ หัวข้อ “ชีวิตวิถีใหม่กับงานวิจัยและนวัตกรรม” โดย ดร.สุวิทย์ ชัยเกียรติยศ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) |
12.00 – 13.00 น. |
พักรับประทานอาหารกลางวัน |
ภาคบ่าย (ผลงาน/ผลความสำเร็จของหน่วยงานด้านการวิจัยและพัฒนา และผลงานวิจัยที่มีความพร้อมในการขยายผลสู่การใช้ประโยชน์ |
|
13.00-13.15 น. | ถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 3 โดย นางสาวอัจฉรา จอมสง่าวงศ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน |
13.15-13.30 น. | นวัตกรรมเปลี่ยนวิถีการผลิตพืชสวน โดย นายอำนวย อรรถลังรอง รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านพืชผัก สถาบันวิจัยพืชสวน |
13.30-13.45 น. | ห้องปฏิบัติการทดสอบเครื่องเกี่ยวนวดข้าวมาตรฐาน มอก.1428-2560 โดย นายเวียง อากรชี ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแก่น สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม |
13.45-14.00 น. |
ชีวิตวิถีใหม่กับงานวิจัยและนวัตกรรมอารักขาพืช |
14.00-14.15 น. | การพัฒนาชุดตรวจสอบธาตุอาหารรอง และเหล็กที่เป็นประโยชน์ในดินเพื่อจัดการดินและปุ๋ย โดย นางสาวจรีรัตน์ กุศลวิริยะวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร |
14.15-14.30 น. | ผลงานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและนวัตกรรมสู่ผู้ใช้ประโยชน์ ปี 2564 สำนักวิจัยพัฒนา เทคโนโลยีชีวภาพ โดย นางปิยรัตน์ ธรรมกิจวัฒน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ |
14.30-14.45 น. | ถาม-ตอบ |
14.45-15.00 น. | ผลงานวิจัยและพัฒนาพืชหลังการเก็บเกี่ยว โดย นายชูชาติ วัฒนวรรณ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและ แปรรูปผลิตผลเกษตร นางสาวศุภมาศ กลิ่นขจร รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์เกษตร กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร |
15.00 – 15.15 น. | พันธุ์พืชพร้อมใช้สู่การขยายผลได้จริงเชิงพาณิชย์และชุมชน โดย นายวินัย สมประสงค์ ผู้เชี่ยวชาญด้านคุ้มครองพันธุ์พืช สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช |
15.15 – 15.30 น. | การออกแบบและพัฒนาระบบใบทะเบียน ใบอนุญาต และใบรับรอง นำเข้า ส่งออก นำผ่านพืช ผลิตผลพืช และปัจจัยการผลิตทางการเกษตร แบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ National Single Window : NSW สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ปีงบประมาณ 2564 โดย นายชัยศักดิ์ รินเกลื่อน นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร |
15.30 – 15.45 น. | มุ่งมั่นงานบริการ & พัฒนางานวิจัย โดย นางสุภาภรณ์ เหลืองไพบูลย์ศรี นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช |
15.45 – 16.00 น. | การขอรับรองห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2017 โดย นางสาวนิราภรณ์ พรรณรา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเชียงใหม่ กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช |
16.00 – 16.15 น. | การปรับเปลี่ยนระบบงานยางบน NSW : ผลต่อชีวิตวิถีใหม่ โดย นางสาวพรทิพย์ ประกายมณีวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กองการยาง |
16.15 – 16.30 น. | กปร. กับงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตอบรับ “ชีวิตวิถีใหม่กับงานวิจัยและ นวัตกรรม” โดย นายธีรภัทร์ เข็มทอง ผู้อำนวยการกองประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กองประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ |
16.30 – 16.45 น. | ถาม – ตอบ |
เวลา | กิจกรรม |
วันที่ 30 กันยายน 2564 | |
ภาคเช้า (ผลงาน/ผลความสำเร็จของหน่วยงานด้านการวิจัยและพัฒนา และผลงานวิจัยที่มีความพร้อม ในการขยายผลสู่การใช้ประโยชน์) | |
08.30 – 08.45 น. | เทคโนโลยีการผลิตพืชท้องถิ่นเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนภาคเหนือตอนบน โดย นางสาวประนอม ใจอ้าย รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการผลิตพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ (ภาคเหนือตอนบน) สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 |
08.45 – 09.00 น. | การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ฟ้าทะลายโจรสายพันธุ์ดีของกรมวิชาการเกษตร โดย นางสาวเกษร แช่มชื่น นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 |
09.00 – 09.15 น. | ชุมชนต้นแบบวิชาการเกษตร : นวัตกรรมการผลิตพืชปลอดภัยในพื้นที่ตำบลหนองโก จังหวัดขอนแก่น ตำบลฆ้องชัยพัฒนา จังหวัดกาฬสินธุ์ และตำบลน้าก่า จังหวัดนครพนม โดย นางนิยม ไข่มุกข์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครพนม สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 |
09.15 – 09.30 น. | เทคโนโลยีกรมวิชาการเกษตรสู่มือเกษตรกรอีสานล่าง โดย นางวราภรณ์ อุดมดี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 |
09.30-09.45 น. | 1. การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงหลังนาที่เหมาะสมในพื้นที่ภาคกลาง 2. การพัฒนาต้นแบบการผลิตขยายต้นพันธุ์ส้มโอขาวแตงกวาจังหวัดชัยนาทปลอดโรคกรีนนิ่ง 3. การพัฒนากลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพืชผักปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดนครปฐม โดย นายไชยา บุญเลิศ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ นางสาววารีรัตน์ สมประทุม นักวิชาการเกษตรชำนาญการ นางสาวสุภัค กาญจนเกษร นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 |
09.45 – 10.00 น. | วิจัยและพัฒนาแก้ไขปัญหาการผลิตทุเรียนภาคตะวันออกให้มีคุณภาพเพื่อการส่งออก โดย นางสาวเครือวัลย์ ดาวงษ์ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นายอลงกต อุทัยธนกิจ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 |
10.00 – 10.15 น. | การบูรณาการการผลิตมังคุดคุณภาพและปลอดภัยจังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อการส่งออก โดย นางสาวกาญจนา ทองนะ รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการการผลิตพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ (ภาคใต้ตอนบน) สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 |
10.15 – 10.30 น. | สวพ.8 2021 วิจัยและพัฒนาสร้างชุมชนเข้มแข็ง โดย นายจิระ สุวรรณประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 นางสาวสุวิมล วงศ์พลัง นักวิชาการเกษตรชำนาญการ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 |
10.30 – 12.00 น. | บรรยายพิเศษ หัวข้อ “สร้างแรงบันดาลใจ สร้างสรรค์ สร้างสุข ในการทำงาน” โดย ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 |
12.00 – 13.30 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
ภาคบ่าย (พิธีประกาศเกียรติคุณผู้เกษียณอายุราชการ ประจำปี 2564) |
|
13.30-13.45 น. | กล่าวรายงาน โดย นางสาวอิงอร ปัญญากิจ รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร |
13.45-14.30 น. | รับชม VDO Presentation ของผู้เกษียณอายุราชการ ประจำปี พ.ศ. 2464 |
14.30-15.30 น. | – พิธีมอบโล่ผู้เกษียณอายุราชการ ผ่านระบบ Online ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย สวพ.1-8 สวร. สวส. สคว. กปผ. สวศ. กกย. และ กวม. – ประธานกล่าวคำอวยพรแก่ผู้เกษียณอายุราชการ โดย นายพิเชษฐ์ วิริยะพาหะ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร |
15.30-16.00 น. | ตัวแทนผู้เกษียณอายุราชการกล่าวคำขอบคุณและแสดงความรู้สึก โดย นายอนันต์ อักษรศรี รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร |
16.00 น. | เป็นต้นไปประธานมอบดอกไม้ให้กับผู้เกษียณอายุราชการ |
กรมวิชาการเกษตร
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 13.00-13.15 น.
โดย นางสาวอัจฉรา จอมสง่าวงศ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ
สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 13.15-13.30 น.
โดย นายอำนวย อรรถลังรอง รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านพืชผัก
สถาบันวิจัยพืชสวน
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 13.30-13.45 น.
โดย นายเวียง อากรชี ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแก่น
สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 13.45-14.00 น.
โดย นายพฤทธิชาติ ปุญกัณโท นักกีฏวิทยาชำนาญการพิเศษ
สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 14.00-14.15 น.
โดย นางสาวจรีรัตน์ กุศลวิริยะวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ
กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 14.15-14.30 น.
โดย นางปิยรัตน์ ธรรมกิจวัฒน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร
สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 14.45-15.00 น.
โดย นายชูชาติ วัฒนวรรณ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและ แปรรูปผลิตผลเกษตร
นางสาวศุภมาศ กลิ่นขจร รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์เกษตร
กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 15.00 – 15.15 น.
โดย นายวินัย สมประสงค์ ผู้เชี่ยวชาญด้านคุ้มครองพันธุ์พืช
สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 15.15 – 15.30 น.
โดย นายชัยศักดิ์ รินเกลื่อน นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 15.30 – 15.45 น.
โดย นางสุภาภรณ์ เหลืองไพบูลย์ศรี นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ
กองพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 15.45 – 16.00 น.
โดย นางสาวนิราภรณ์ พรรณรา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเชียงใหม่
กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช
วันที่ 29 กันยายน 2564 เวลา 16.00 – 16.15 น.
โดย นางสาวพรทิพย์ ประกายมณีวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ
กองการยาง
วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 08.30 – 08.45 น.
โดย นางสาวประนอม ใจอ้าย รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการผลิตพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ (ภาคเหนือตอนบน)
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1
วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 08.45 – 09.00 น.
โดย นางสาวเกษร แช่มชื่น นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2
วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 09.00 – 09.15 น.
โดย นางสาวนฤทัย วรสถิตย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการผลิตพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน) และคณะ
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3
วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 09.15 – 09.30 น.
โดย นางวราภรณ์ อุดมดี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4
วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 09.30-09.45 น.
- การพัฒนาต้นแบบการผลิตขยายต้นพันธุ์ส้มโอขาวแตงกวาจังหวัดชัยนาทปลอดโรคกรีนนิ่ง
- การพัฒนากลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพืชผักปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดนครปฐม
โดย นายไชยา บุญเลิศ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ
นางสาววารีรัตน์ สมประทุม นักวิชาการเกษตรชำนาญการ
นางสาวสุภัค กาญจนเกษร นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 5
วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 09.45 – 10.00 น.
โดย นางสาวเครือวัลย์ ดาวงษ์ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ
นายอลงกต อุทัยธนกิจ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6
วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 10.00 – 10.15 น.
โดย นางสาวกาญจนา ทองนะ รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการการผลิตพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ (ภาคใต้ตอนบน)
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 7
- 1
- 2
การจัดชั้นคุณภาพเมล็ดกาแฟทางกายภาพและประสาทสัมผัส
การทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกำจัดโรคเมล็ตสีม่วงในถั่วเหลือง
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว จังหวัดพิจิตรแบบเกษตรกรมีส่วนร่วม
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง จังหวัดน่านแบบเกษตรกรมีส่วนร่วม
ประสิทธิภาพของเชื้อบาซิลลัสที่มียีนสังเคราะห์เปปไทด์ต้านจุลขีพต่อการควบคุมโรคเมล็ดสีม่วงของถั่วเหลือง
โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์งาแบบเกษตรกรมีส่วนร่วม ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี
งานผลิตพันธุ์ ปี 2564
ผลของการพอกเมล็ดพิทูเนียด้วย Pumice ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์และการเก็บรักษา
Seed One Stop Service นวัตกรรมการบริการสู่การเป็นศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์อาเซียน
การผลิตแม่พันธุ์ต้นเลา ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในระบบไบโอรีแอคเตอร์
ศึกษาผลการเคลือบเมล็ดพันธุ์มะระต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์หลังการเก็บรักษา
การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบห้อมและการพัฒนาแชมพูผสมสารสกัดห้อม
การผลิตสีผงจากดอกอัญชัน
การผลิตสารยับยั้งเอนไซม์แอลฟ่า-กลูโคซิเดสโดยวิธีเอนแคปซูเลชัน
การผลิตเซรั่มบำรุงผิวผสมสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากสาหร่ายขนาดเล็ก
การควบคุมโรคแอนแทรคโนสในกระบวนการผลิตพริกขี้หนูหลังเก็บเกี่ยวโดยการชักนำความต้านทาน
การศึกษาฟิล์มเจาะรูขนาดไมครอนโดยใช้เลเซอร์มาร์กเกอร์เพื่อยึดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้
ศึกษาบรรจุภัณฑ์และระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ขมิ้นชันแคปซูล เพื่อรักษาปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ น้ำมันหอมระเหย และลดการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรา
ประสิทธิภาพการเป็นสารรมของเอนแคปซูเลทน้ำมันหอมระเหยข่าลิงต่อการป้องกันกำจัดด้วงถั่วเขียว
การใช้สารรมอีโคฟูม ในการกำจัดแมลงศัตรูผลิตผลเกษตร
วิจัยและพัฒนาเครื่องพ่นสารชนิดแขนพ่นแบบปรับอัตราฉีดพ่นอัตโนมัติสำหรับอ้อย
วิจัยและพัฒนาเครื่องคัดแยกสีผลสตรอเบอร์รี่โดยใช้เทคนิค Image Processing
เครื่องมือเก็บเกี่ยวผลกาแฟ
เครื่องใส่ปุ๋ยเคมีกึ่งอัตโนมัติแบบโรยตามแนวปลายทรงพุ่มสำหรับสวนทุเรียนโดยใช้ต่อฟวงกับรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก
เครื่องหยอดเมล็ดพืชและปุยแบบอัตโนมัติที่ควบคุมอัตราการหยอดด้วยสมองกลฝังตัว
วิจัยและพัฒนาเครื่องอบลดความชื้นกาแฟโรบัสต้าโดยใช้หลักการลมร้อนร่วมกับสูญญากาศ
วิจัยพัฒนาเครื่องขึ้นรูปชาเขียวอบไอน้ำ
ชุดเครื่องมือตรวจสอบกล้วยไม้สกุลหวายตัดดอกหลังการลดความชื้นด้วยเครื่องแบบอุโมงค์ลมเพื่อการส่งออก
วิจัยและพัฒนาเครื่องล้างทำความสะอาดผลกาแฟอะราบิกาสำหรับเกษตรกร
ระบบควบคุมแขนกล 4 แกนสำหรับตรวจสอบเพลี้ยไฟและบั่วกล้วยไม้ในกล้วยไม้สกุลหวาย A 4-Axis Robot Controller for Detection Insect Pests in Dendrobium Orchid
วิจัยและพัฒนาโรงเรือนควบคุมสภาพแวดล้อมแบบอัตโนมัติสำหรับการผลิตพืชผักปลอดภัยสารพิษตกค้าง
วิจัยพัฒนาโรงเรือนอัจฉริยะควบคุมสภาวะอากาศอัตโนมัติสำหรับการผลิตไม้ผลเมืองหนาวนอกฤดู
วิจัยและพัฒนาโรงอบแห้งกาแฟกะลาอะราบิกาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับเกษตรกรแบบควบคุมความชื้นและอุณหภูมิภายในอัตโนมัติ
วิจัยและพัฒนาเครื่องคัดขนาดหัวมันฝรั่งแบบสายพาน
วิจัยและพัฒนารถขุดเก็บและปลิดถั่วลิสง
อ้อยคั้นน้ำโคลนดีเด่น UTI10-3
การตรวจสอบเครื่องหมายโมเลกุลสนิป (SNP) กลุ่มยีนสังเคราะห์น้ำตาลซูโครสในอ้อยด้วยเทคนิค Restriction site Associated DNA Sequencing (RAD-Seq) เพื่อใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์
ตากฟ้า7ฝ้ายใบขน ทนทานเพลี้ยจักจั่น
นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีการจัดการโรคอ้อยที่เกิดจากเชื้อไฟโตพลาสมาแบบไร้รอยต่อเพื่อควบคุมการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ทดสอบประสิทธิภาพเชื้อ Bacillus sp. ยับยั้งเชื้อราที่เกิดกับเมล็ดงอกปาล์มน้ำมัน
กาแฟอะราบิกาพันธุ์แนะนำ “เชียงราย 1 และ เชียงราย 2”
เทคโนโลยีการผลิตต้นพันธุ์ดีมะคาเดเมียโดยวิธีทาบกิ่งและเสียบยอด
ผลของระดับโอโซนและประสิทธิภาพของสารต้านอนุมูลอิสระที่มีผลต่อการยืดอายุการเก็บรักษาหัวพันธุ์มันฝรั่ง
ผลของ NAA, GA3 และ CPPU ต่อการผลิตทุเรียนพวงมณีเมล็ดลีบ
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้และใบจุดของปทุมมาโดยวิธีผสมผสาน
ดาหลาลูกผสมพันธุ์แนะนำ ยะลา 1-4
ดาหลาตัดดอกลูกผสมพันธุ์ใหม่ที่มีศักยภาพที่จะเสนอขอเป็นพันธุ์แนะนำ
ทุเรียนลูกผสมพันธุ์ใหม่ในจังหวัดยะลา
ประสิทธิผลการตรวจพบการผิดเงื่อนไขการนำเข้าสินค้าเกษตรภายใต้พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ.2507 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ปีงบประมาณ 2564
การออกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อให้กัญชา กัญชง เป็นเมล็ดพันธุ์ควบคุม ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518
การศึกษาเพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์หญ้ารูซี่ (Brachiaria ruzziziensis R. Germ. & C. M. Evrard) และลูกผสม
ต้นแบบการผลิตแมลงหางหนีบสีน้ำตาลเพื่อการควบคุมแมลงศัตรูพืชอย่างยั่งยืน Pilot Plant of the Effective Brown Earwigs for Sustainable Pest Control
การประยุกต์ใช้ Smart Sensors และ IoTs Platform ในการผลิตทุเรียน
การใช้ไวรัส NPV ในการควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด Spodoptera frugiperda (JE Smith) Using of Nucleopolyhedro virus to control fall armyworm (Spodoptera frugiperda (JE Smith)).
เทคโนโลยีการป้องกันกำจัดศัตรูพีชแบบผสมผสานในการผลิตมะเขือเปราะเพื่อการส่งออก
การใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังต้านทานโรคใบด่าง
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงในพื้นที่จังหวัดน่าน
การเพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายละอองเกสรของอินทผลัม (Phoenix dactylifera L.) พันธุ์ KL1
การใช้ NAA และธาตุอาหารเพื่อเพิ่มการติดผลของอินทผลัมพันธุ์ KL 1
การทดสอบเทคโนโลยีการฟื้นฟูสวนส้มเกลี้ยงในสภาพเสื่อมโทรมพื้นที่ จ.ลำปาง
การปรับปรุงพันธุ์มะเกี๊ยง (Cleistocalyx operculatus var. Paniala)
การพัฒนาพันธุ์ว่านสี่ทิศกลีบดอกซ้อน
การทดสอบสายต้นมะขามป้อมที่คัดเลือกไว้ในพื้นที่ภาคเหนือ
การพัฒนาและใช้ประโยชน์สีย้อมธรรมชาติจากห้อม
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอะโวคาโด
เทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมในการผลิตมะขามหวานจังหวัดเพชรบูรณ์
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถั่วเขียวผิวมันในฤดูแล้ง จังหวัดเพชรบูรณ์แบบเกษตรกรมีส่วนร่วม
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวจังหวัดเพชรบูรณ์ แบบเกษตรกรมีส่วนร่วม
ส้มโอสายต้นท่าชัย 32
การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว-ถั่วลิสง โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์
มันเทศสำหรับบริโภคสด พจ. 06-15
การปรับปรุงพันธุ์มะนาวพันธุ์พิจิตร 1 ให้มีเมล็ดน้อย
การทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของระบบการปลูกพืช ข้าว-ข้าวโพด โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
การทดสอบการป้องกันกำจัดศัตรูพืชกะหล่ำปลีบนพื้นที่สูงในพื้นที่จังหวัดตาก พิษณุโลก และเพชรบูรณ์
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยการใช้ปุ๋ยแบบเกษตรกรมีส่วนร่วมในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
การทดสอบเทคโนโลยีการผลิตขมิ้นชันเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี
การขับเคลื่อนการใช้ชีวภัณฑ์ Bacillus subitis สายพันธุ์ BS-DOA 24 ควบคุมโรคเหี่ยวของกระชายในพื้นที่จังหวัดนครปฐมและกาญจนบุรี
การพัฒนาระบบให้น้ำอัจฉริยะในการผลิตข้าวโพดหวานหลังนา จังหวัดนครสวรรค์
ทดสอบเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยในพื้นที่นาจังหวัดราชบุรี
ศึกษาเทคโนโลยีการชักนำให้สำรองออกดอกในสภาพแปลงปลูก
ทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพเพื่อการส่งออกในพื้นที่ภาคตะวันออก
การพัฒนาและขยายผลเทคนโลยีการป้องกันกำจัดโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนในพื้นที่ภาคตะวันออก
ทดสอบและพัฒนาการป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งในการผลิตมะม่วงคุณภาพเพื่อการส่งออก
เทคโนโลยีการผลิตหน่อไม้ไผ่ตงศรีปราจีนที่เหมาะสม
มาตรการควบคุมคุณภาพทุเรียนส่งออกภาคตะวันออก ปี 2564
การทดสอบขยายผลไถระเบิดดินดานในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังภาคตะวันออก
ศึกษาเปรียบเทียบวัสดุเพาะเพื่อผลิตต้นอ่อนผักกระชับ
ศึกษาการตอบสนองผลผลิตกระชับต่ออัตราปุ๋ยที่แตกต่างกัน
ศึกษาวิธีการกระตุ้นความงอกของเมล็ดกระชับ
การขยายผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพแหนแดงเพื่อลดต้นทุนการผลิตพืชผักภายใต้โครงการศูนย์บริการการพัฒนาปลวกแดงตามพระราชดำริจังหวัดระยอง
การอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยโบราณตามพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส
การพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ขยายผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพแหนแดงเพื่อลดต้นทุนการผลิตพืชผักภายใต้โครงการศูนย์บริการการพัฒนาปลวกแดงตามพระราชดำริ
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพีชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
ศูนย์เรียนรู้การผลิตพืชตามแนวพระราชดำริทฤษฎีใหม่ : แหล่งขยายผลการผลิตพืชเพื่อความพอเพียงและยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัยน้อมนำดำริพ่อขยายต่ออย่างภาคภูมิ
โครงการธนาคารอาหารชุมชนตามพระราชเสาวนีย์ฯ ( Food Bank) จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สงวนลิขสิทธิ์ © 2563 โดยกรมวิชาการเกษตร